บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

Qr Code ห้องเรียน MS-Team วิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีฯ

รูปภาพ
 

Qr Code ห้องประชุมจักรวาลนฤมิตร ของ บิ๊ก กิตติวินท์ สำเภาทอง

รูปภาพ
 

Qr Code วิดีโอพาชมหน่วยงานหลักของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)

รูปภาพ
 

ซ้อมประกวดร้องเพลงค่าน้ำนม นักศึกษา กศน.อำเภอกระทุ่มแบน

รูปภาพ
 

Qr-Code กิตติวินท์ สำเภาทอง

รูปภาพ
 

Development and validation of year five geometrical measurement skills instrument

 ABSTRACT Geometrical measurement is one of the most difficult fields in primary school mathematics and regularly found to be an area of weaknesses. The factors affecting the low understanding is due to the lack of valid and reliable assessment instruments. Thus, this study aimed to develop and validate a Geometrical Measurement Skill Instrument (GMSI) to assess Year Five National school pupils’ geometrical measurement skills in geometrical measurement. GMSI was developed by applying the Structure of Observed Learning Outcomes (SOLO) Taxonomy and was constructed in the super item format which consisted of 24 items altogether. This study applied a survey approach to assess 132 Year Five pupils’ geometrical measurement skills. The content validity was examined using the content validity index (CVI) analysis. For the construct validity, data were obtained and analyzed using the Rasch analysis. From the CVI analysis, the results showed that GMSI could be used for the pilot study. Results f

Validation of Instruments for Measuring Affective Outcomes in Gifted Education

 Abstract With increasing attention to examining cognitive strengths and achievements related to social and emotional variables, it is imperative that instruments developed and used to assess change be valid and reliable for measuring underlying constructs. This study examines instruments identified and/or developed to measure four noncognitive constructs (i.e., student engagement, self-efficacy, growth mindset, and stereotype threat) as outcome variables in a study with elementary-aged students in high-poverty rural communities. The process of creating and examining the psychometric properties of these instruments is a necessary step in documenting the usefulness of the instruments not just in our study but also in other studies with elementary students. We note in our descriptions of the development and assessment of measures that underlying factors may or may not parallel those identified in the general population or in older students and that measurement of noncognitive variables i

Teaching Program Planning and Evaluation: Measuring Acquired Skills of Alumni in Health Education Settings

  ABSTRACT Purpose: The aim of this study was to better understand how program planning and evaluation courses prepare students for their future careers in various health settings. Participants (n=20) from three different institutions with Health Education programs in the U.S. participated in the study. Methods: A modified snow-ball sampling technique was used to contact alumni to participate in an online closed and open-ended survey using Qualtrics. Likert-scales assessed skills used in participants’ respective fields and types of theories and planning models used for program development and implementation. Open-ended questions allowed participants to share ways in which they practiced cultural competency, suggestions to enhance program planning and evaluation courses and advice for early-career professionals in health education and public health. Closed questions were analyzed using IBM SPSS and open-ended questions were analyzed using a constant comparison method for themes. Results

Developing public administration education by focusing on difficult key concepts: The case of Nigeria and Ghana

 A B S T R A C T Students’ understanding of public administration (PA) plays an important role in ensuring the quality of human resources that African universities produce. Using a quantitative approach and sample N ¼ 650, this paper draws on empirical evidences of students lived expereinces of what they consider difficult in the study of PA in Ghana and Nigeria; establishing relations between selected variables and perceived difficulties. The study concludes that, African university students not having previous backgrounds in PA and syllabus being too wide accounts for difficulties in the study of PA; there is a statistically significant difference regarding bureaucracy, ethics, cor- ruption, and arms of government between lower levels and upper level African university students on the perceived difficulty in the study of PA and there is a statistically significant difference between Bachelor of Business Administration and Bachelor of Science Public Administration among African univer

การบริหารการวัดและประเมินผลการศึกษากับการปฏิบัติงานตามภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษาในจังหวัดนครปฐมสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9

Abstract การวิจัยครั้งนื้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1)การบริหารการวัดและประเมินผลการศึกษา ของสถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) การปฏิบัติงานตามภารกิจการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในจังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการวัดและประเมินผลการศึกษากับการปฏิบัติงานตามภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของสถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จำนวน 28 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการหรือหัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ นายทะเบียน ครูวัดผลและครูผู้สอนรวมโรงเรียนละ 6 คน รวมทั้งสิ้น 168 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวัดและประเมินผลการศึกษาที่สร้างขึ้นตามแนวคิดของกมล ภู่ประเสริฐและคณะ และการปฏิบัติงานตามภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่สร้างขึ้นตามแนวคิดของส

การศึกษาองค์ประกอบและการประเมินระบบบริหารคุณภาพการวัดและประเมินผลการศึกษาแบบทุกคนมีส่วนร่วมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  บทคัดย่อ             การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารคุณภาพการวัดและประเมินผลการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  เพื่อศึกษาองค์ประกอบของระบบบริหารคุณภาพการวัดและประเมินผลการศึกษาแบบทุกคนมีส่วนร่วม  และเพื่อประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของระบบบริหารคุณภาพการวัดและประเมินผลการศึกษาแบบทุกคนมีส่วนร่วมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการวัดและประเมินผล  ด้านการบริหารสถานศึกษา ด้านการบริหารงานคุณภาพ     และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา    เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถาม  แบบสัมภาษณ์   และแบบประเมินความเหมาะสม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ  ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา             ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารคุณภาพการวัดและประเมินผลการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณ

การพัฒนาตัวบ่งชี้ความรู้ทางการวัดและประเมินผลการศึกษา ของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บทคัดย่อ งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ความรู้ทางการวัดและประเมินผลการศึกษาของนิสิต 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนผลการเรียนสะสม ความรู้ทางการวัดและประเมินผลการศึกษาตามการรับรู้ และทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการศึกษาของนิสิต และ 3) ศึกษาและเปรียบเทียบทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการศึกษาของนิสิตจำแนกตามเพศ ระดับผลการเรียนและสาขาวิชาที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ นิสิตคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ทุกสาขาวิชา ประกอบด้วย เกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ศึกษา พลศึกษาและสุขศึกษา และสาขาภาษาอังกฤษศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 141 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. โมเดลตัวบ่งชี้ความรู้ทางการวัดและประเมินผลการศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าไคสแควร์ = 34.81, p = 0.47717 ที่ df = 35, GFI = 0.96, AGFI = 0.91 และ RMR = 0.034  ตัวบ่งชี้ที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุ

มุมมองการศึกษาไทย: ทำอย่างไรให้ไปสู่ความสำเร็จ

  มุมมองการศึกษาไทย : ทำอย่างไรให้ไปสู่ความสำเร็จ รายการอ้างอิง    วสันต์ เต็งกวน และ กิตติชัย สุธาสิโนบล. ( 2564 ).   มุมมองการศึกษาไทย : ทำอย่างไรให้ไปสู่ความสำเร็จ .  สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ ปี ที่ 8 ฉบับที่ 2 ( กรกฎาคม - ธันวาคม 2564). หน้า 1-13

การประยุกต์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อวัดและประเมินผลการศึกษา สำหรับวางแผนการเรียนด้วยตนเอง

  การประยุกต์โปรแกรมสำเร็จรูป

การสร้างโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

  ชื่อวิทยานิพนธ์ การสร้างโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการวัดและประเมินผลการศึกษา Construction of a Microcomputer Package for Educational Measurement and Evaluation ชื่อนิสิต โกชัญ ทองคำ Gochun Tongkhum ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ ดร ต่าย เซี่ยงฉี รศ อุเทน ปัญโญ รศ ดร สุธรรม์ จันทน์หอม Asso Prof Dr Tay Chiengchee Asso Prof Uthen Panyo Asso Prof Dr Suthan Janhom ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย Chiang Mai University. Chiang Mai (Thailand). Graduate School ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ศึกษาศาสตร์ (การวัดและประเมินผลการศึกษา) Master. Education (Educational Measurement and Evaluation) ปีที่จบการศึกษา 2539 บทคัดย่อ(ไทย) ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) สร้างโปรแกรม สำเร็จรูปสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลทางการวัดและประเมินผลการ ศึกษา ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อสอบ การหาคุณภาพของเครื่องมือ การแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน และการตัดเกรด 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของโปรแกรมที่สร้างขึ้นมา ได้แก่ ความเชื่อมั่นของผลการคำนวณ ความเที่ย